Page 37 - 22373_Fulltext
P. 37

โดยเปิดโอกาสให้กลุ่มต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการบริการทางการศึกษา เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่

                กลุ่มเป้าหมาย และอุดช่องว่างด้านการบริการและการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ เช่น การสร้างความ
                เข้มแข็งให้กับสมาคมผู้ปกครอง  การส่งต่อข้อมูลเด็กด้อยโอกาสจากโรงเรียนถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                เพื่อเพิ่มความใกล้ชิดระหว่างโรงเรียน ชุมชน บ้าน ครู และเด็กด้อยโอกาส โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                เป็นผู้ประสานงาน เพื่อให้เข้าใจสภาพการอยู่อาศัย และสภาพปัญหาของเด็กเพื่อวางแผนช่วยเหลือในล้าดับ

                ต่อไป การเปิดโอกาสให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเพิ่มมากขึ นเพื่อลด
                ปัญหาด้านงบประมาณของโรงเรียนที่มีไม่เพียงพอ และ (3) ส่งเสริมการจัดสวัสดิการในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่

                การเพิ่มโอกาสทางกายภาพ อาทิ การจัดโครงการอาหารกลางวันที่ทั่วถึง เพียงพอและมีคุณภาพ เพื่อให้ได้รับ
                สารอาหารที่มีประโยชน์ และจ้าเป็นต่อพัฒนาการทางสมองและร่างกาย ท้าให้เกิดความเสมอภาคในเพื่อนรุ่น

                เดียวกันในด้านพัฒนาการทางร่างกายและสติปัญญา เพิ่มโอกาสทางรายได้ อาทิ การสนับสนุนทุนการศึกษา
                เพื่อแบ่งเบาภาระครอบครัวเพื่อป้องกันการลาออกกลางคัน โดยให้ครอบคลุมถึงความเพียงพอในด้านต่าง ๆ

                เพิ่มโอกาสทางสังคม อาทิ การจัดให้มีบริการรถเดินทางส้าหรับเด็กในถิ่นอาศัยไกลจากโรงเรียน เพื่อเพิ่มความ
                สะดวก และความปลอดภัยในการเข้ารับการศึกษา

                          นอกจากนี พระราชบัญญัติกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. 2561 มาตรา 13 (2561)

                ยังได้ระบุว่า เพื่อประโยชน์ในการลดความเหลื่อมล ้าทางการศึกษา กองทุนจะด้าเนินการเองหรือจะร่วมกับ
                กระทรวงศึกษาธิการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานศึกษา หรือหน่วยงานอื่นก็ได้ ในการนี ให้กองทุน

                มีอ้านาจสนับสนุนค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยงานดังกล่าวได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ
                ก้าหนด


                          รวมถึงสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2558) ยังให้ความส้าคัญกับการจัดสรร
                ทรัพยากรการเรียนที่เหมาะสมและการที่ไม่มีกลุ่มใดถูกทิ ง (No child left behind) ว่าเป็นเรื่องของความเป็น

                ธรรมทางการศึกษา โดยเป็นส่วนส้าคัญส่วนหนึ่งของการยกระดับคุณภาพระบบโรงเรียนทั งหมดของประเทศ
                ความเป็นธรรมคือ การส่งเสริมกลุ่มด้อยเปรียบให้มีโอกาสได้มี ได้เป็นเท่าเทียมกับกลุ่มอื่น ๆ ในสังคม นอกจากนี

                การจัดสรรทรัพยากรให้เกิดความเป็นธรรม ไม่ใช่เป็นเพียงเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษาเท่านั น แต่การ
                จัดสรรทรัพยากรอย่างเป็นธรรม ยังมีความสัมพันธ์กับผลการเรียนรู้ของนักเรียนที่แสดงออกในการประเมินด้วย
                ความเป็นธรรมทางการศึกษาไม่ได้หมายถึงการให้ทรัพยากรที่เท่ากันหมด เพราะการให้ที่เท่ากันไม่ได้ก่อให้เกิด

                ความเป็นธรรมในสังคม เพราะคนที่ต้นทุนเดิมมากยังคงมีมากเหนือคนอื่น ๆ และคนที่มีต้นทุนน้อยยังคงมีต้นทุน           การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา

                น้อยเหมือนเดิม แต่ระบบที่ประสบความส้าเร็จไม่ได้ทอดทิ งนักเรียนกลุ่มด้อยเปรียบ แต่ให้กระจายทรัพยากร
                ที่เป็นธรรม ซึ่งเป็นนักเรียนที่เสียเปรียบ มีโอกาสเท่าเทียมกับนักเรียนกลุ่มอื่น คือ การสนับสนุนนักเรียนและ
                โรงเรียนที่ยากจน และที่อยู่ในพื นที่ประชากรศาสตร์ที่ด้อยเปรียบกว่าด้านสถานะทางสังคม และเศรษฐกิจ


                          อย่างไรก็ตาม เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2564) ระบุว่า ความเสมอภาคทางการศึกษา (1) ไม่ใช่
                การใช้วิธีการปฏิบัติที่เหมือนกัน เนื่องจากโดยธรรมชาติแล้วแต่ละคนมีความแตกต่างกันในเรื่องถิ่นก้าเนิด

                เชื อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพร่างกาย สถานะบุคคล ฯลฯ การปฏิบัติเหมือนกัน เป็นแบบเดียวกันกับทุกคน
                อาจยิ่งท้าให้เกิดความแตกต่าง เกิดช่องว่าง หรือความไม่เท่าเทียมกันมากขึ น เช่น ในทางการศึกษาการให้

                การศึกษาอบรมระหว่างเด็กปกติกับเด็กที่มีร่างกายพิการย่อมต้องแตกต่างกัน สอดคล้องกับที่ปรากฏใน



                                                               วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า   13
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42