Page 25 - 22432_fulltext
P. 25

24


                        ส่วนที่ 4 ระบบกฎข้อบังคับการแข่งขันทางการค้าของประเทศไทยในปัจจุบัน


                                        เหมาะกับสิทธิสภาพนอกอาณาเขตหรือไม่



                       ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ระบบการแข่งขันทางการค้าของประเทศไทยอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติการแข่งขัน
               ทางการค้า พ.ศ. 2542 (“พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2542”) การก ากับดูแลการแข่งขันทางการค้าในไทยนั้น

               เป็นเรื่องที่มีเพียงหน่วยงานของรัฐเท่านั้นที่สามารถท าได้ และอยู่ในการดูแลของกรมการค้าภายใน กระทรวง

               พาณิชย์ อย่างไรก็ตาม ข้อเท็จจริงปรากฏว่าการดูแลการแข่งขันทางการค้าไม่ได้รับความส าคัญเพียงพอ
               เนื่องจากกรมการค้าภายในมีหน้าที่ในความรับผิดชอบเป็นจ านวนมากอยู่แล้ว  ส่งผลให้มีการจัดสรรทรัพยากร

               บุคคลและงบประมาณเพื่อท าให้แน่ใจว่าจะมีการแข่งขันที่เป็นธรรมในระดับที่น้อย และยังมีการทับซ้อนกัน

               และความขัดแย้งเกิดขึ้นในระหว่างการก ากับดูแลการแข่งขันให้เป็นธรรมอันเนื่องมาจากการใช้อ านาจฝ่าย
                                         73
               บริหารตามนโยบายของรัฐบาล

                       ต่อมา มีการเสนอพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2560 (“พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ.

               2560”) มีผลบังคับใช้ในวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของระบบการแข่งขันทางการค้าใหม่

               ส าหรับประเทศไทย โดย พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 ไม่ได้เพียงแต่ใช้แทน พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2542
               เพียงเท่านั้น แต่พระราชบัญญัติใหม่ฉบับนี้ยังจัดตั้งหน่วยงานการแข่งขันที่เป็นอิสระ ซึ่งมีคณะกรรมการการ

               แข่งขันทางการค้า (กขค.) เป็นคณะกรรมการที่ท าการตัดสิน และมีส านักงานคณะกรรมการการแข่งขันทาง

               การค้า (สขค.) เป็นหน่วยงานรัฐที่ท าหน้าที่ด าเนินการต่าง ๆ ที่จ าเป็นและสนับสนุนการท างานของ
               คณะกรรมการฯ


                       ในบทบัญญัติของ พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 ไม่ได้มีการพูดถึงประเด็นเรื่องความสามารถในการ

               น าไปใช้นอกอาณาเขตโดยชัดแจ้ง (explicit extraterritoriality) แต่อย่างใด ซึ่งต่างจากประเทศอื่น ๆ เช่น

               ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สิงคโปร์ และออสเตรเลีย ซึ่งได้มีการใส่ประเด็นเรื่องเขตอ านาจศาลไว้อย่างชัดเจนในกฎหมาย
               การแข่งขันทางการค้า พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 นั้นไม่ได้ให้ค าตอบส าหรับค าถามที่ว่า การกระท าที่

               เกิดขึ้นนอกประเทศไทยแต่มีผลกระทบทางเศรษฐกิจหรือเชิงพาณิชย์ภายในประเทศไทยจะอยู่ภายใต้การ

               บังคับใช้ของ พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 หรือไม่ ประเด็นนี้จะมีความซับซ้อนยิ่งขึ้นไปอีกเมื่อพิจารณาค า
               นิยามในมาตรา 5 ของ พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 ท าให้เกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับความเป็นไปได้ที่จะใช้

               พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 นอกอาณาเขตมากยิ่งขึ้นไปอีก


                       “ธุรกิจ” และ “ผู้ประกอบธุรกิจ” ที่จะอยู่ภายใต้การบังคับใช้ของ พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 นั้น
               ถูกนิยามในลักษณะที่ค่อนข้างใช้ได้โดยทั่วไปและที่ไม่มีข้อบ่งชี้ใด ๆ เกี่ยวกับขอบเขตในทางอาณาเขตหรือ




               73  ส านักงานคณะกรรมการแข่งขันทางการค้า, ความเป็นมาของส านักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า (สขค.) จาก
               https://otcc.or.th/about-the-office-trade-competition-commission-otcc/
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30