Page 35 - 22432_fulltext
P. 35

34


               พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 จะไม่อนุญาตให้ส่งเอกสารไปยังบุคคลที่อยู่ต่างประเทศ มาตรา 24 และ 25

               ใน พ.ร.บ.การแข่งขันฯ ได้อ้างตามความในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเกี่ยวกับการใช้อ านาจและ
               หน้าที่ของคณะกรรมการฯ ในการสอบสวนและคัดค้านการแย้งค าสั่งไม่ฟ้องของพนักงานอัยการตามล าดับ

               อย่างไรก็ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเองก็ไม่มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการส่งหมายเรียกไป

               ยังต่างประเทศ จึงท าให้ต้องน าบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาบังคับใช้ ตามที่มาตรา
                                                                 91
               15 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได้บัญญัติไว้

                       เมื่อต้องน าประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้ บทบัญญัติที่เกี่ยวกับการส่งหมายเรียกไปยัง

                                                               92
               ต่างประเทศเริ่มตั้งแต่มาตรา 83 ทวิ ถึงมาตรา 83 อัฏฐ  ในกรณีพิเศษตามมาตรา 83 อัฏฐ แห่งประมวล
               กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง โจทก์สามารถยื่นค าขอฝ่ายเดียวโดยท าเป็นค าร้อง และศาลอาจอนุญาตให้ส่ง
               หมายเรียกโดยวิธีประกาศโฆษณาแทนการส่งหมายเรียกให้แก่บุคคล อย่างไรก็ตาม จะสังเกตได้ว่ามาตรา 83

               ทวิ ถึงมาตรา 83 อัฏฐ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กล่าวถึงเพียงแค่การส่งหมายเรียกไปยัง

               ต่างประเทศ ดังนั้น กระบวนการอื่น ๆ ในการบังคับใช้เพื่อจัดการเกี่ยวกับแข่งขันจะต้องถูกบัญญัติไว้ใน พ.ร.บ.
               การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเช่นเดียวกันหากเป็นประเด็นที่

               เกี่ยวข้อง


                       นอกจากนี้ เนื่องจากมาตรา 24 และ 25 ของ พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 ได้อิงตามประมวล

               กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จึงท าให้อาจทับซ้อนกับพระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่อง
               ทางอาญา พ.ศ. 2535 โดยมาตรา 36 แห่งพระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญา ได้

                                                            93
               ก าหนดให้หน่วยงานที่ประสงค์จะขอความช่วยเหลือ  จากรัฐต่างประเทศเสนอเรื่องต่ออัยการสูงสุดก่อน
               จากนั้นอัยการสูงสุดจะมีอ านาจดุลพินิจในการพิจารณาว่าการขอความช่วยเหลือจากรัฐต่างประเทศนั้น


               91  ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา, มาตรา 15:
                       วิธีพิจารณาข้อใดซึ่งประมวลกฎหมายนี้มิได้บัญญัติไว้โดยเฉพาะ ให้น าบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา

                       ความแพ่งมาใช้บังคับเท่าที่พอจะใช้บังคับได้
               92  ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 83 ทวิ ถึง มาตรา 83 อัฏฐ ในกรณีที่จ าเลยไม่มีภูมิล าเนาอยู่ใน

               ราชอาณาจักร (และจ าเลยไม่ได้ประกอบกิจการในราชอาณาจักรด้วยตนเองหรือโดยตัวแทน), ให้โจทก์ยื่นค าร้องต่อศาลเพื่อให้
               ศาลจัดส่งหมายเรียกและค าฟ้องตั้งต้นคดีแก่จ าเลยภายในก าหนดเจ็ดวันนับแต่วันยื่นค าฟ้อง ส าหรับบทบัญญัติฉบับเต็มของ
               ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง สามารถดูฉบับแปลอย่างไม่เป็นทางการได้ที่
               https://www.imolin.org/doc/amlid/Thailand_The%20Civil%20Procedure%20Code.pdf.

               93  พระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญา, มาตรา 4:
                       “ความช่วยเหลือ” หมายความว่า ความช่วยเหลือในเรื่องเกี่ยวกับการด าเนินการ สืบสวน สอบสวน ฟ้องคดีริบ

                       ทรัพย์สิน และการด าเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
               ส าหรับบทบัญญัติฉบับเต็ม สามารถดูฉบับแปลของส านักกฎหมายและวิชาการศาลยุติธรรมได้ที่
               https://jla.coj.go.th/th/content/category/detail/id/8/cid/1609/iid/11540.
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40