Page 65 - kpiebook62001
P. 65

ปี พ.ศ.                                  ชื่อโครงการ / ประเภทบัตร

                              และมีมารดาตั้งครรภ์ ต่ออายุได้ไม่  อนามัยหรือโรงพยาบาล 8 ครั้ง ต่อ  ครอบครัวที่มีบัตรสีเหลืองอยู่แล้ว
                              เกิน 2 ครั้ง                อายุได้ไม่เกิน 2 ครั้ง      และมีมารดาตั้งครรภ์
                                                       โครงการบัตรสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข

                              บัตรสีแดง                                 บัตรสีฟ้า
                              ราคา 200 บาทต่อปี ใช้รักษาพยาบาลได้ไม่เกิน 8 ครั้ง  ราคา 100 บาทต่อปี ใช้ส าหรับอนามัยแม่และเด็กและ
                  พ.ศ. 2527
                              จ ากัดวงเงินไม่เกิน 2,000 บาทต่อครั้ง ส าหรับ  เสริมภูมิคุ้มกันโรค เป็นบัตรเสริมส าหรับครอบครัวที่มี

                              ครอบครัวที่มีสมาชิกและบุตรอายุไม่เกิน 15 ไม่เกิน 4   บัตรสีแดง คุ้มครองสิทธิเด็กจนถึงอายุ 1 ปี
                              คน หากเกินสามารถซื้อบัตรเพิ่มได้
                                              โครงการบัตรสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข (เพิ่มเติมสิทธิประโยชน์)

                              บัตรสีเขียว                 บัตรสีแดง                   บัตรสีฟ้า
                              ราคา 300 บาทต่อปี สิทธิประโยชน์ ราคา 200 บาทต่อปี ใช้ส าหรับการ  ราคา 100 บาทต่อปี ใช้ส าหรับการ
                  พ.ศ. 2528   เหมือนบัตรสีแดงในปี พ.ศ. 2527   รักษาพยาบาล             อนามัยแม่และเด็กและเสริม

                              ลดจ านวนเหลือ 6 ครั้ง แต่ไม่จ ากัด                      ภูมิคุ้มกันโรค
                              วงเงินในการรักษาพยาบาลแต่ละ
                              ครั้ง

                                                          โครงการประกันสุขภาพโดยสมัครใจ
                              บัตรครอบครัว
                  พ.ศ. 2536
                              ราคา 500 บาทต่อปี โดยกระทรวงสาธารณสุขสมทบให้อีก 500 บาทเข้ากองทุนบัตรประกันสุขภาพ ใช้ส าหรับ
                              ครอบครัวที่มีสมาชิกไม่เกิน 5 คนโดยไม่จ ากัดจ านวนครั้งและวงเงินในการรักษาแต่ละครั้ง
               ที่มา: ดัดแปลงจาก Hfocus (2557)


                       ในช่วงนี้ คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ มีมติให้กรมพัฒนาชุมชนเก็บข้อมูลในปีความจ าเป็นที่เรียกว่า
               ข้อมูลความจ าเป็นพื้นฐาน หรือ จปฐ. เป็นประจ าทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 เพื่อชี้วัดระดับความเป็นอยู่โดยเก็บข้อมูล 8

               หมวด คือ (1) สุขภาพดี (2) มีบ้านอยู่อาศัย (3) ศึกษาถ้วนทั่ว (4) ครอบครัวสุขภาพ (5) รายได้มาก (6) อยากร่วมพัฒนา

               (7) พาสู่คุณธรรม (8) บ ารุงสิ่งแวดล้อม โดยให้มีการปรับปรุงตัวชี้วัดทุก ๆ 5 ปีให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
               สังคมแห่งชาติ ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2560-2564) ปรับให้เหลือ 5 หมวด 31 ตัวชี้วัด คือ (1) สุขภาพดี (2) สภาพแวดล้อม

               (3) การศึกษา (4) การมีงานท าและรายได้ (5) ค่านิยม ในระยะแรกไม่ได้เก็บข้อมูลในเขตเทศบาลและกรุงเทพมหานคร

               แต่ในระยะหลังได้มีการเก็บข้อมูลในเขตพื้นที่ดังกล่าวเพิ่มเติม (ส านักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพิจิตร, 2560)
                       นโยบายด้านการสงเคราะห์คนชรา คนพิการ และผู้ป่วยเอชไอวี ก็ได้เริ่มต้นขึ้นในช่วงนี้ดังที่ได้อภิปรายในส่วน

               ก่อนหน้า ส าหรับการประกันสังคมได้มีผลบังคับใช้เป็นประกันในสถานประกอบการ ซึ่งสอดรับกับนโยบายด้านเศรษฐกิจ

               ในสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ที่ต้องการยกระดับประเทศ และดึงดูดภาคเอกชนให้ร่วมลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน
               จ านวนมาก อย่างไรก็ตาม ลักษณะการจัดนโยบายสวัสดิการยังคงเป็นแบบทวิลักษณ์ระหว่างเขตเมืองและชนบทอย่าง

               ชัดเจน

                                                               56
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70