Page 278 - kpiebook65010
P. 278
แนวทางและวิธีการวิเคราะห์
ผลกระทบทางสังคมในการตรากฎหมาย
ประเทศ แนวทางการวิเคราะห์ วิธีการวิเคราะห์
๏ ในกรณีที่การวิเคราะห์ได้ข้อสรุปว่าไม่มีทางเลือกใดที่เหมาะสมที่สุด
ก็ควรระบุในรายงาน RIA ให้ชัดเจนโดยไม่ควรอ้างว่าไม่มีทางเลือก
ที่เหมาะสมที่สุดมาเป็นเหตุในการไม่เผยแพร่รายงาน RIA
2. OECD ๏ ในกรณีที่ร่างกฎหมายจะส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญ ๏ การวิเคราะห์แบบ
การประเมินผลกระทบล่วงหน้าในด้านต้นทุน (cost) ผลประโยชน์ Least cost analysis
(benefit) และความเสี่ยง (risk) ควรจะต้องมีการดำเนินการ ๏ การวิเคราะห์แบบ
ในลักษณะที่วัดได้ (quantifiable) Cost-benefit analysis (CBA)
๏ ต้นทุนในการออกกฎหมายอาจรวมถึงต้นทุนโดยตรง เช่น ต้นทุน ๏ การวิเคราะห์แบบ
ในด้านการบริหาร ด้านการเงิน เป็นต้น รวมไปถึงต้นทุนทางอ้อม Cost- effectiveness analysis
เช่น ต้นทุนค่าเสียโอกาส เป็นต้น โดยพิจารณาว่าใคร ในระหว่าง (CEA)
ภาคธุรกิจ ประชาชน หรือหน่วยงานของรัฐเป็นผู้แบกรับต้นทุน ๏ การวิเคราะห์แบบ
เหล่านั้น Multi-criteria analysis (MCA)
๏ ควรที่จะมีการอธิบายเชิงพรรณนาถึงบรรดาผลกระทบต่างๆ
ปัญหาหรืออุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น เช่น ในด้านความเท่าเทียม
ความเป็นธรรม รวมไปถึงการกระจายผลกระทบไปยังกลุ่มต่างๆ
๏ การประเมิน RIA ควรดำเนินการด้วยนโยบายที่ชัดเจน มีการกำหนด
โครงการฝึกอบรม การแนะแนวทาง กลไกการควบคุมคุณภาพ
การเก็บและใช้ข้อมูล การดำเนินการนี้ควรดำเนินการในระยะเริ่มต้น
ของกิจกรรมที่จะต้องดำเนินการในนโยบายดังกล่าวโดยได้รับ
การสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่ส่วนกลาง
3. สหราชอาณาจักร ๏ แนวทางการวิเคราะห์ได้รับอิทธิพลจากการกำหนดกรอบเสนอ ๏ มีการกำหนดเทคนิค
นโยบายและกฎหมายที่เรียกว่า Five Case Model ซึ่งการกำหนด การวิเคราะห์ที่คำนึงปัจจัยด้าน
กฎหมายและนโยบายนั้นรัฐจะต้องพิจารณาทั้งในมิติด้านยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจและสังคมไปพร้อมกัน
ด้านเศรษฐกิจ ด้านพาณิชย์ ด้านการเงิน และด้านการบริหารจัดการ ได้แก่ การวิเคราะห์แบบ social
โดยด้านเศรษฐกิจนั้น รัฐต้องคำนึงถึงมูลค่าที่จะเกิดขึ้นต่อสังคมจาก cost-benefit analysis
การดำเนินมาตรการดังกล่าวโดยนำเอาต้นทุนและผลประโยชน์ (Social CBA) หรือ social
ทั้งหมดมาพิจารณาประกอบกัน cost-effectiveness analysis
๏ การวิเคราะห์ผลกระทบในทางสังคมนั้น เป็นส่วนหนึ่งของ (Social CEA) มาใช้เพื่อ
การวิเคราะห์ผลกระทบในทางเศรษฐกิจ พิจารณาส่วนต่างระหว่าง
๏ เอกสารหลักที่กำหนดแนวทางการวิเคราะห์ ได้แก่ Green Book ต้นทุนและผลตอบแทน
ของ HM Treasury; Better Regulation Framework Interim ๏ มีการกำหนดรายละเอียด
Guidance ของ Department for Business, Energy and วิธีคำนวณแบบ Social CBA
Industrial Strategy; และ Guide to Making Legislation อย่างละเอียด โดยกล่าวถึง
๏ กำหนดให้มีการกำหนดการกำหนดเป้าหมายที่พึงประสงค์ตามหลัก หัวข้อต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
SMART objectives (ความเฉพาะเจาะจง (Specific) การวัดค่าได้ การคำนวณ เช่น ขอบเขตของ
(Measurable ) บรรลุผลได้ (Achievable) อยู่บนฐานของ ต้นทุนและผลประโยชน์
ความเป็นจริง (Realistic) มีกำหนดเวลา (Time-limited)) การปรับค่าเงินเฟ้อ (inflation)
๏ กำหนดให้ต้องคำถึงถึงปัจจัยหลายประการ เช่น ปัจจัยที่จะทำให้ การประมาณต้นทุนและ
การดำเนินการประสบความสำเร็จ (Critical Success Factors: ผลประโยชน์ รวมทั้ง ต้นทุน
CSFs) ด้านต่าง ๆ เช่น ความเข้ากันได้กับยุทธศาสตร์และ และผลประโยชน์ที่ไม่อาจ
การตอบความต้องการทางธุรกิจ แนวโน้มความคุ้มค่าทางการเงิน คำนวณค่าเป็นเงิน
และขีดความสามารถของผู้ผลิตสินค้าและวัตถุดิบ การวิเคราะห์ความอ่อนไหว
เป็นต้น
สถาบันพระปกเกล้า
266