Page 203 - kpiebook65020
P. 203
164
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”
ด าเนินการจัดท า RIA ที่มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์โดยมีหลักฐานประจักษ์และมีกรอบที่ครอบคลุมเพื่อให้การออก
25
กฎทุกครั้งมีความเหมาะสมและอธิบายได้
ในอดีต RIA เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูปกฎหมาย (Regulatory Reform) ที่ใช้ในการค านวณ
ต้นทุนของกฎที่มีต่อเอกชนและน าไปสู่การผ่อนคลายกฎ (Deregulation) อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันแนวคิดการ
จัดท า RIA ไม่ได้มีเพื่อผ่อนคลายกฎแต่เพื่อประสิทธิภาพ (ออกกฎที่สามารถบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้) และ
26
ประสิทธิผล (ออกกฎที่มีประโยชน์มากกว่าต้นทุน)
1.1.3.2 ที่มาและพัฒนาการ
แนวคิดในการจัดท า RIA เริ่มต้นพร้อมกับแนวคิดรัฐในก ากับสมัยใหม่ (Modern
Regulatory State) ที่รัฐเข้ามามีบทบาทในการก ากับดูแลการด าเนินชีวิตของประชาชนแทนที่จะปล่อยให้ชีวิต
ความเป็นอยู่ในสังคมถูกควบคุมด้วยตลาดในระบบทุนนิยม โดย RIA ได้รับการผลักดันผ่าน ผ่านความพยายาม
ผลักดันขององค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Co-
operation and Development: OECD) ตั้งแต่ในปีค.ศ. 1995 OECD ได้ออกประกาศ Reference
Checklist for Regulatory Decision-making หรือที่เรียกกันว่า OECD Checklist ซึ่งจะมีค าถามทั้งหมด 10
ข้อ ที่หน่วยงานต้องตอบก่อนท าการเสนอแก้ไขหรือเพิ่มเติมกฎหมาย ในปีค.ศ. 2017 OECD ประสบ
ความส าเร็จในการส่งต่อแนวคิด RIA ให้กับประเทศสมาชิก OECD ทั้ง 37 ประเทศ อาจจะกล่าวได้ว่า ใน
ปัจจุบัน RIA ได้รับการยอมรับอย่างมากในบริบทสังคมโลก
1.1.3.3 ขั้นตอนและวิธีการ
จากการศึกษาการจัดท า RIA ในหลายประเทศพบว่า แม้แต่ละประเทศจะมีวิธีการด าเนินการ
จัดท า RIA แตกต่างกันออกไปตามวัตถุประสงค์และข้อจ ากัดของแต่ละประเทศ แต่ถึงกระนั้นก็อาจจะสามารถ
ระบุขั้นตอนการจัดท า RIA ที่ส าคัญที่เป็นขั้นตอนที่ทุกประเทศใช้อย่างเดียวกัน ดังนี้
เปรียบเทียบ
ประเมินและ ทำงเลือก
วิเครำะห์
ก ำหนด ผลกระทบ
นโยบำย
ก ำหนด ทำงเลือก ทำงเลือก
วัตถุประสงค์ พร้อม
ก ำหนด
ปัญหำ
25 เพิ่งอ้าง, น. 20.
26 เพิ่งอ้าง, น. 22.