Page 219 - kpiebook65020
P. 219
180
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”
ภาพที่ 9 แผนผังแนวทางการจัดท าร่างกฎหมาย
ที่มา : กองพัฒนากฎหมาย ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
59
2.2 หลักเกณฑ์การจัดท ารายงานวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย (checklist)
การตรวจสอบความจ าเป็นและการวิเคราะห์ผลกระทบ (Regulatory Impact Analysis หรือ RIA)
เป็นเครื่องมือส าคัญในการพัฒนาคุณภาพของกฎหมาย และเป็นการยกระดับการตรากฎหมายของรัฐ โดยใช้
วิธีการวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของเหตุผล ข้อมูล และข้อเท็จจริง โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้ได้มาซึ่งกฎหมายที่ดีและมีคุณภาพ
ดังนั้น เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว ในการตรากฎหมายแต่ละฉบับ หน่วยงานผู้เสนอร่าง
กฎหมาย จึงต้องจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายเสมอ สิ่งที่หน่วยงานจ าเป็น
59 ข้อมูลในหัวข้อนี้ได้รับความอนุเคราะห์จากนางสาวใจใส วงส์พิเชษฐ นักกฎหมายกฤษฎีกา กองพัฒนากฎหมาย ส านักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกา