Page 224 - kpiebook65020
P. 224

185
                                                                                     รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
                                    โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”

                                                                         66
                              (3) สอดคล้องกับหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
                              4)  ยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่หมดความจ าเป็นหรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ หรือที่
                                                                                     67
               เป็นอุปสรรคต่อการด ารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพ เพื่อไม่ให้เป็นภาระแก่ประชาชน
                       2.3.2 ระบบอนุญาต

                       มาตรา 21  (5)  แห่งพระราชบัญญัติฯ ก าหนดให้หน่วยงานที่จะเสนอร่างกฎหมายต้องไม่ใช้ระบบ

               อนุญาต เว้นแต่จะมีเหตุจ าเป็นเพื่อรักษาประโยชน์ของประเทศชาติหรือประชาชน หรือมีกรณีจ าเป็นอันไม่อาจ
               หลีกเลี่ยงได้ โดยในกรณีที่จ าเป็นต้องมีระบบอนุญาต การก าหนดระยะเวลาหรือขั้นตอนในการพิจารณายื่นค า
               ขออนุญาตด าเนินการต่าง ๆ ต้องค านึงถึงหลักการและสาระส าคัญของกฎหมายเกี่ยวกับการอ านวยความ
                                                                 68
               สะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการประกอบด้วย
                       2.3.3 ระบบคณะกรรมการ


                       ระบบคณะกรรมการ คือ ระบบการพิจารณาและตัดสินใจในรูปแบบกลุ่มบุคคลที่ก าหนดขึ้นเพื่อให้มี
               การด าเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดในด้านการบริหารโดยมีเป้าหมายในการท างานร่วมกัน

                       โดยมาตรา 21 (6) แห่งพระราชบัญญัติฯ ก าหนดให้หน่วยงานที่จะเสนอร่างกฎหมายต้องไม่ใช้ระบบ
               คณะกรรมการ เว้นแต่เพื่อก าหนดนโยบาย หรือก ากับ หรือก าหนดหลักเกณฑ์ หรือเพื่อการอื่นที่จ าเป็น ทั้งนี้
               ในกรณีที่น าระบบคณะกรรมการมาใช้ ให้ระบุให้ชัดเจนด้วยว่ามติของคณะกรรมการผูกพันหน่วยงานที่มีผู้แทน
                                        69
               เป็นกรรมการโดยต าแหน่งด้วย
                       2.3.4 การก าหนดหลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ของรัฐและระยะเวลาในการด าเนินการ

               ตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่บัญญัติไว้ในร่างกฎหมายนั้นให้ชัดเจน

                       มาตรา 21 (7) ของพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดท าร่างกฎหมายฯ ได้ก าหนดให้หน่วยงานของรัฐ
               ในการจัดท าร่างกฎหมาย ควรก าหนดการให้อ านาจดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ในการออกค าสั่งทางปกครองหรือ
               ด าเนินกิจการทางปกครองเฉพาะที่เท่าที่จ าเป็น และควรก าหนดหลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจและระยะเวลาการ
               ด าเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่เป็นสาระส าคัญไว้ในร่างกฎหมายให้ชัดเจน เนื่องจากการก าหนดให้ดุลพินิจแก่

               เจ้าหน้าที่รัฐ เป็นการให้อ านาจภายในกรอบที่กฎหมายก าหนด แต่หากกฎหมายไม่ก าหนดรายละเอียดเงื่อนไข
               ในการใช้ดุลพินิจให้ชัดเจน อาจท าให้เจ้าหน้าที่ใช้อ านาจของตนโดยขัดแย้งกับเจตนารมย์ของกฎหมายได้





               65
                  พระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการด าเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2560
               66
                  Agere, S. (2000), Promoting Good  Governance: Principles, Practices and Perspectives, Managing  the
               Public Service: Strategies for Improvement, No. 11, Commonwealth Secretariat, London.
               67
                  Derthick, Martha, and Paul J. Quirk, The politics of deregulation, (Brookings Institution Press, 2001).
               68  ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, “รายงานผลการศึกษาของคณะท างานศึกษาหลักเกณฑ์การพิจารณาการก าหนดระบบ
               อนุญาตในกฎหมาย,” (2562) จาก https://www.lawreform.go.th/uploads/files/1579148886-2cqso-rwvy6.pdf.
               69  ค าแนะน าของคณะกรรมการพัฒนากฎหมาย เรื่อง การใช้ระบบคณะกรรมการในกฎหมาย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
               เล่ม 136 ตอนที่ 132 ก ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2562
   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229