Page 99 - kpiebook65020
P. 99
60
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”
2) ร่างกฎหมายนั้นได้สร้างขั้นตอนหรือมีช่องทางสร้างขั้นตอนขึ้นใหม่หรือไม่ และขั้นตอนนั้น
จ าเป็นอย่างไร ได้มีการระบุขั้นตอนและระยะเวลาของขั้นตอนนั้นไว้ให้ชัดเจนหรือไม่และจะลดลงได้อีกหรือไม่
3) ร่างกฎหมายนั้นได้ก าหนดให้มีการขออนุญาตเพื่อท ากิจการอย่างหนึ่งอย่างใดหรือไม่ และ
จ าเป็นเพียงไร จะเปลี่ยนจากการขออนุญาตก่อนกระท าเป็นการก ากับดูแลในภายหลังจะได้หรือไม่
4) ถ้าจ าเป็นต้องให้มีการขออนุญาต ได้ก าหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาไว้ชัดเจนหรือไม่ถ้า
ยังไม่ได้ก าหนด ก็ให้ก าหนดไว้ให้ชัดเจน
ภายหลังจากการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 การ
ประเมินผลกระทบในการออกกฎหมายของประเทศไทยได้รับการให้ความส าคัญและพัฒนาขึ้นตามล าดับ โดย
ในปี 2544 ได้มีการจัดตั้ง “คณะกรรมการปรับปรุงกฎหมายเพื่อการพัฒนาประเทศ” ขึ้นมาเพื่อพิจารณา
กฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ โดยภารกิจส าคัญประการหนึ่งของคณะกรรมการชุดดังกล่าวคือ
การจัดท า “หลักเกณฑ์การตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย” โดยน าหลักเกณฑ์ของ OECD (The
OECD Reference Checklist for Regulatory Decision-Making) มาเป็นแนวทางในการจัดท า และได้เสนอ
หลักเกณฑ์ดังกล่าวต่อคณะรัฐมนตรีได้ความเห็นชอบให้หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติในปี พ.ศ. 2546 โดยในปี
ต่อมาส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้จัดท าคู่มือตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมายตามหลักเกณฑ์
100
ดังกล่าวเสนอต่อคณะรัฐมนตรีและได้รับความเห็นชอบให้หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติเช่นกัน
ต่อมา ในปี พ.ศ. 2548 ได้มีการตราระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเสนอเรื่องต่อ
คณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2548 โดยในข้อ 14 ของระเบียบดังกล่าวก าหนดว่าในกรณีที่จะเสนอเรื่องต้อคณะรัฐมนตรี
เพื่อขอให้มีการตราพระราชบัญญัติ ให้มีการจัดท าค าชี้แจงตามหลักเกณฑ์ในการตรวจสอบความจ าเป็นในการ
ตราพระราชบัญญัติท้ายระเบียบดังกล่าวด้วย ซึ่งหลักเกณฑ์ท้ายระเบียบดังกล่าวก็เป็นหลักเกณฑ์เดียวกันกับ
หลักเกณฑ์การตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย พ.ศ. 2546 นั่นเอง และได้ใช้หลักเกณฑ์ดังกล่าวใน
การตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมายเรื่อยมา จนกระทั่งมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้มีการก าหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการตรวจสอบความจ าเป็นในการ
ตรากฎหมายไว้ในมาตรา 77 อันเป็นที่มาของพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดท าร่างกฎหมายและการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 ดังจะได้อธิบายในรายละเอียดในหัวข้อถัดไป
2.3.2.2 หลักเกณฑ์การตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมายมาตรา 77 ของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้ก าหนดกรอบและหลักการส าคัญใน
การตรากฎหมาย เพื่อควบคุมให้การออกกฎหมายนั้นเป็นไปเท่าที่จ าเป็นและมีประสิทธิภาพ ไว้ในหมวด 6
แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 77 ตามความดังต่อไปนี้
“มาตรา 77 รัฐพึงจัดให้มีกฎหมายเพียงเท่าที่จ าเป็นและยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่หมด
ความจ าเป็นหรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ หรือที่เป็นอุปสรรคต่อการด ารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพโดย
ไม่ชักช้าเพื่อไม่ให้เป็นภาระแก่ประชาชนและด าเนินการให้ประชาชนเข้าถึงตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ได้
โดยสะดวกและสามารถเข้าใจกฎหมายได้ง่ายเพื่อปฏิบัติตามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง
100 หนังสือส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0503/ว 253 ลงวันที่8 ธันวาคม 2547